ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และความรับผิดชอบของรัฐโดยป  (อ่าน 369 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
คำอธิบายกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิด ชาญชัย
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_599613_th_3736329คำอธิบายกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิด ชาญชัย แสวงศักดิ์
ผู้แต่ง : ชาญชัย แสวงศักดิ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 10 : มิถุนายน 2560
จำนวนหน้า: 560 หน้า
รูปแบบ : ปกอ่อน
ประกอบด้วย
 
สารบัญ 
 
ภาค  1 กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
บทที่  1 วิวัฒนาการแนวความคิดว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
 ในต่างประเทศและในประเทศไทยก่อนที่จะมีการตรากฎหมายว่าด้วย
 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 1. แนวความคิดเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐในต่างประเทศ
  1.1 สหราชอาณาจักร
  1.2 สหรัฐอเมริกา
  1.3 เยอรมัน
  1.4 สวิตเซอร์แลนด์
  1.5 ฝรั่งเศส
 2. แนวความคิดเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐในประเทศไทย
 ก่อนมีการตรากฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
  2.1 ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช
  2.2 ในสมัยที่มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว
   2.2.1 โครงสร้างความรับผิดทางละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
   2.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทำละเมิดกับผู้เสียหาย
   2.2.3 การคุ้มครองเจ้าหน้าที่จากความรับผิดทางละเมิด
  2.3 การใช้หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ก่อให้เกิด
   ความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่
   2.3.1 สภาพปัญหา
   2.3.2 กรณีตัวอย่าง
  2.4 ความเป็นมาของการตรากฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
   2.4.1 การดำเนินการในสมัยรัฐบาลที่มีนายอานันท์   ปันยารชุน
    เป็นนายกรัฐมนตรี
   2.4.2 การดำเนินการในสมัยรัฐบาลที่มีนายชวน  หลีกภัย  เป็นนายกรัฐมนตรี
   2.4.3 การดำเนินการในสมัยรัฐบาลที่มีนายบรรหาร   ศิลปอาชา
    เป็นนายกรัฐมนตรี
  2.5 เหตุผลในการนำพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
   พ.ศ.  2539   มาใช้บังคับ
บทที่  2 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  พ.ศ.  2539
 1. ข้อสังเกตเบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้
 2. ลักษณะของการกระทำที่ถือเป็นละเมิด
  2.1 การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
  2.2 กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
  2.3 บุคคลอื่นที่ได้รับความเสียหาย
 3. ขอบเขตการบังคับใช้ของพระราชบัญญัตินี้
  3.1 ขอบเขตในแง่ของเวลา
   3.1.1 ในส่วนที่เป็นสารบัญญัติ
   3.1.2 ในส่วนที่เป็นวิธีสบัญญัติ
  3.2 ขอบเขตในแง่ของ  “เจ้าหน้าที่”
   3.2.1 แนวความคิดเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา
   3.2.2 แนวคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
  3.3 ขอบเขตในแง่ของ  “หน่วยงานของรัฐ”
 4. สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้ในส่วนที่เป็นสารบัญญัติ
  4.1 ความรับผิดของรัฐในผลแห่งละเมิดที่เกิดขึ้นแก่เอกชน
   4.1.1 หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่
    เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่
   4.1.2 เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเป็นการเฉพาะตัวต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิด
    ของเจ้าหน้าที่ที่มิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่
  4.2 การไล่เบี้ยเอาแก่เจ้าหน้าที่ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
   4.2.1 กรณีที่หน่วยงานของรัฐอาจไล่เบี้ยเอาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ
   4.2.2 หลักเกณฑ์การไล่เบี้ย
  4.3 กรณีเจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
   4.3.1 กรณีหน่วยงานของรัฐอาจเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้
   4.3.2 หลักเกณฑ์การเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้
 5. สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้ในส่วนที่เป็นวิธีสบัญญัติ
  5.1 การร้องขอให้หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
   5.1.1 การยื่นคำขอ
   5.1.2 ระยะเวลาในการยื่นคำขอ
   5.1.3 การพิจารณาคำขอ
   5.1.4 การฟ้องคดีกรณีที่ยังไม่พอใจผลการพิจารณาคำขอ
  5.2 การเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดชำระเงินให้แก่หน่วยงานของรัฐ
   5.2.1 หน่วยงานของรัฐมีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ชำระเงิน
    5.2.1.1 ความเห็นของนักวิชาการ
    5.2.1.2 แนวความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา
   5.2.2 การให้เจ้าหน้าที่ผ่อนชำระได้
  5.3 หลักเกณฑ์ในการฟ้องคดีต่อศาล
   5.3.1 กรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิด
   5.3.2 กรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด
   5.3.3 กรณีที่มีความเห็นไม่ตรงกันว่าเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐ
    ต้องรับผิดหรือต้องรับผิดร่วมกัน
  5.4 อายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนและในการฟ้องคดี
   5.4.1 อายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
   5.4.2 การขยายอายุความกรณีศาลพิพากษายกฟ้องเพราะผู้ถูกฟ้อง
    มิใช่ผู้ต้องรับผิดชอบ
   5.4.3 อายุความในการเรียกให้อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าสินไหม
   5.4.4 อายุความในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่
    5.4.4.1 แนวความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา
    5.4.4.2 แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครอง
บทที่  3 หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดของเจ้าหน้าที่
 1. การเตรียมการรองรับกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 2. สรุปสาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
  หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
  2.1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
  2.2 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
 3. ข้อหารือแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิด
  ของเจ้าหน้าที่ในกรณีอื่น
  3.1 ข้อหารือเกี่ยวกับกรณีที่เกิดขึ้นก่อนวันที่กฎหมายว่าด้วย
   ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่จะมีผลใช้บังคับ
  3.2 ข้อหารือเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
   หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
บทที่  4 การกำหนดค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่
 1. ข้อพิจารณาเบื้องต้นเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทน
  1.1 ความหมายของค่าสินไหมทดแทน
  1.2 ประเภทของค่าสินไหมทดแทน
  1.3 หลักเกณฑ์การกำหนดค่าสินไหมทดแทน
 2. ค่าสินไหมทดแทนในกฎหมายต่างประเทศ
 3. แนวคำวินิจฉัยของศาลยุติธรรมในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน
  3.1 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ชีวิต
  3.2 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ร่างกายและอนามัย
  3.3 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่เสรีภาพ
  3.4 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ชื่อเสียง
  3.5 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ทรัพย์สิน
  3.6 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่สิทธิอื่น ๆ
 4. แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน
  4.1 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ชีวิต    ร่างกาย  และอนามัย
  4.2 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ชื่อเสียง
  4.3 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ทรัพย์สิน
  4.4 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่สิทธิอื่น ๆ
บทที่  5 ศาลที่มีเขตอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 1. คดีที่อยู่ในเขตอำนาจของศาลปกครอง
 2. การฟ้องคดีในกรณีที่เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
  2.1 การฟ้องคดีให้เจ้าหน้าที่รับผิดจากการกระทำละเมิด 
   ที่มิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่
  2.2 การฟ้องคดีให้หน่วยงานของรัฐรับผิดจากการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่
   ที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่  แต่เป็นกรณีที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลปกครอง
  2.3 การฟ้องคดีว่าหน่วยงานของรัฐพิจารณาคำขอตามมาตรา  11
   แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ  ล่าช้าเกินสมควร
  2.4 การฟ้องคดีให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐ
   ตามมาตรา  11  แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ
 3. การฟ้องคดีในกรณีที่เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
  3.1 การฟ้องคดีให้เพิกถอนคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ
   ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
  3.2 การฟ้องคดีให้เพิกถอนคำสั่งเรียกเจ้าหน้าที่ชำระค่าสินไหมทดแทน
   ตามมาตรา  12  แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ
  3.3 การฟ้องคดีโต้แย้งมาตรการบังคับทางปกครองกับเจ้าหน้าที่
  3.4 การฟ้องคดีขอให้ศาลออกคำบังคับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่ง
   ตามมาตรา  12  แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ
ภาค  2 กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิด
บทที่  1 ความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิดในระบบกฎหมายฝรั่งเศส
 1. ความเป็นนิติบุคคลของรัฐในระบบกฎหมายฝรั่งเศส
 2. วิวัฒนาการของหลักความรับผิดชอบของรัฐในระบบกฎหมายฝรั่งเศส
 3. หลักความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิดในระบบกฎหมายฝรั่งเศส
  3.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิด
  3.2 เงื่อนไขของความรับผิดชอบของรัฐ
บทที่  2 ความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิดในระบบกฎหมายไทย
 1. ปัญหาความเป็นนิติบุคคลของรัฐในระบบกฎหมายไทย
 2. กรณีที่มีการกำหนดความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิดไว้ในกฎหมาย
  2.1 กรณีการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
  2.2 กรณีการจำกัดสิทธิในการใช้ประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์
  2.3 กรณีที่เกี่ยวกับการกระทำในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
  2.4 กรณีที่ได้รับอันตรายจากการปฏิบัติราชการ
  2.5 กรณีที่ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ
  2.6 กรณีการประสบภัยในการรบ
  2.7 กรณีที่มีการเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง
  2.8 กรณีเกิดโรคระบาดสัตว์
  2.9 กรณีที่มีการควบคุมการประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง
 3. กรณีความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิดที่พัฒนาโดยศาลปกครองไทย
 4. เขตอำนาจของศาลปกครองในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับ
  ความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิด
  4.1 เขตอำนาจของศาลปกครองตามบทบัญญัติของกฎหมาย
  4.2 เขตอำนาจของศาลปกครองตามคำวินิจฉัยของศาลปกครองและ
   คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
 5. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับความรับผิดชอบของรัฐ
  โดยปราศจากความผิด
ภาคผนวก
 1. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  พ.ศ.  2539
 2. พระราชกฤษฎีกากำหนดหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติ
  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  พ.ศ.  2539   พ.ศ.  2540
 3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ
  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  พ.ศ.  2539
 4. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0530.8/ว.75   ลงวันที่  22  มิถุนายน  2544
  เรื่อง  แนวทางปฏิบัติกรณีเจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดตาย
 5. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0530.7/ว.92   ลงวันที่  10  สิงหาคม  2544
  เรื่อง  แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 6. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0507.2/ว.81   ลงวันที่  27  สิงหาคม  2545
  เรื่อง  หลักเกณฑ์การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินที่ต้องเรียกชดใช้
  ตามความรับผิดทางละเมิด
 7. หนังสือกระทรวงการคลัง  ด่วนที่สุด ที่  กค  0518.1/ว.97   ลงวันที่   26  กันยายน  2545
  เรื่อง  วิธีปฏิบัติทางการเงินกรณีปรับปรุงกระทรวง  ทบวง   กรม
 8. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0418.7/ว.105  ลงวันที่  24  ตุลาคม  2545
  เรื่อง  การกำหนดหลักเกณฑ์การคิดดอกเบี้ยกรณีเบิกจ่ายไม่ถูกต้องและ
  กรณีกระทำความผิดทางละเมิด
 9. หนังสือกระทรวงการคลัง  ด่วนที่สุด ที่  กค  0406.3/ว.115 
  ลงวันที่   18  พฤศจิกายน  2545    เรื่อง  ประกาศกระทรวงการคลัง 
  เรื่อง  หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการผ่อนชำระหนี้ของเจ้าหน้าที่
 10. หนังสือกระทรวงการคลัง  ด่วนที่สุด ที่  กค  0406.4/ว.118
  ลงวันที่   12  ธันวาคม   2545    เรื่อง  ประกาศกระทรวงการคลัง 
  เรื่อง  หลักเกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำ
  ละเมิดต่อบุคคลภายนอก
 11. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.3/ว.332   ลงวันที่   3  พฤศจิกายน  2546   
  เรื่อง  ประกาศกระทรวงการคลัง    เรื่อง  หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ
  การผ่อนชำระหนี้กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือทายาทได้รับเงินเกินสิทธิหรือ
  ได้รับเงินไปโดยไม่มีสิทธิ
 12. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/ว.139  ลงวันที่   29  พฤศจิกายน  2547
  เรื่อง  แนวทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
  พ.ศ.  2539   กรณีเจ้าหน้าที่พักอยู่ในบ้านพักของทางราชการกระทำละเมิด
 13. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนมาก ที่  กค  0406.2/ว.9  ลงวันที่  18  มกราคม  2548
  เรื่อง  แนวทางปฏิบัติในการดำเนินการกับทรัพย์สินที่สูญหายหรือ
  เสียหายจากภัยธรรมชาติ
 14. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/ว.48   ลงวันที่  16  มีนาคม   2548
  เรื่อง  แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
  กรณียานพาหนะเกิดอุบัติเหตุเสียหาย
 15. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/ว.60   ลงวันที่  29  มีนาคม   2548
  เรื่อง  การอุทธรณ์คำสั่งตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
  พ.ศ.  2539
 16. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/ว.64   ลงวันที่  1  เมษายน   2548
  เรื่อง  แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประนีประนอมยอมความในคดีแพ่ง
 17. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/15595-15597 
  ลงวันที่  24  สิงหาคม   2548   เรื่อง  แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทาง
  ละเมิดของเจ้าหน้าที่   กรณีเกิดความเสียหายกับทรัพย์สินของทางราชการ
  อันเนื่องมาจากสถานการณ์ความไม่สงบใน  3  จังหวัดชายแดนภาคใต้
 18. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/ว.44  ลงวันที่  23   มิถุนายน   2549
  เรื่อง  หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการอุทธรณ์ฎีกาคดีแพ่งและอุทธรณ์คดีปกครอง
 19. หนังสือกรมบัญชีกลาง  ที่  กค  0406.3/ว.336   ลงวันที่  19  กันยายน  2549
  เรื่อง  การส่งสำนวนการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
  ให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ
 20. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.2/ว.1  ลงวันที่   8   มกราคม   2550
  เรื่อง  การสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดที่มีผลมาจากการตรวจสอบของ
  สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
 21. หนังสือกระทรวงการคลัง  ที่  กค  0406.7/ว.56  ลงวันที่   12  กันยายน   2550
  เรื่อง  แนวทางการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามประเภท
  สำนวนการสอบสวน
 22. หนังสือกระทรวงการคลัง  ด่วนที่สุด  ที่  กค  0406.2/ว.66 
  ลงวันที่   25  กันยายน   2550  เรื่อง  แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด
  ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
 23. หนังสือกระทรวงการคลัง   ที่   กค   0406.2/ว.75   ลงวันที่   30   ตุลาคม    2550
  เรื่อง  ซักซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติในการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
 24. หนังสือกรมบัญชีกลาง  ที่  กค  0410.2/ว.217   ลงวันที่  16  มิถุนายน  2551
  เรื่อง  การสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 25. หนังสือกระทรวงการคลัง  ด่วนมาก  ที่  กค  0410.4/ว.97  ลงวันที่  5  กันยายน  2551
  เรื่อง  การเพิกถอนคำสั่งให้ชำระค่าสินไหมทดแทนตามคำพิพากษาของศาลปกครอง
 26. หนังสือกรมบัญชีกลาง  ที่  กค  0410.2/ว.374   ลงวันที่  30  ตุลาคม   2551
  เรื่อง  แนวทางการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
 27. หนังสือกระทรวงการคลัง   ด่วนที่สุด  ที่  กค  0410.2/ว.49  ลงวันที่  15  มิถุนายน  2552   
  เรื่อง  ประกาศกระทรวงการคลัง    เรื่อง  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
  ที่ไม่ต้องรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ
 28. หนังสือกรมบัญชีกลาง   ด่วนมาก  ที่  กค  0410.6/ว.46   ลงวันที่  2  กุมภาพันธ์  2553
  เรื่อง  ซักซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติในการการส่งสำนวนการสอบข้อเท็จจริง
  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_599613_th


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)



 

Sitemap 1 2 3